[TH] Binary Search Tree data structure programming with Python.

ในบทความก่อนหน้านี้ได้แนะนำการเขียนโปรแกรมเพื่อใช้โครงสร้างข้อมูลแบบคิวไปแล้ว ในบทความนี้จึงแนะนำการเขียนโปรแกรมจัดการโครงสร้างข้อมูล (Data Structure) อีกประเภทหนึ่งซึ่งมีวิธีการจัดเก็บและจัดการที่แตกต่างกันไปอันมีชื่อว่าต้นไม้แบบ BST หรือ Binary Search Tree ดังในภาพที่ 1 ซึ่งเป็นโครงสร้างที่สามารถนำไปประยุกต์เกี่ยวกับการเก็บข้อมูลที่มีคุณลักษณะที่ข้อมูลทางกิ่งด้านซ้ายมีค่าที่น้อยกว่าตัวเอง และกิ่งด้านขวามีค่ามากกว่าต้นเอง หรือทำตรงกันข้ามคือกิ่งซ้ายมีค่ามากกว่า และกิ่งด้านขวามีค่าน้อยกว่า ทำให้การค้นหาข้อมูลในกรณีที่ต้นไม้มีความสมดุลย์ทั้งทางซ้ายและทางขวาบนโครงสร้าง BST ประหยัดเวลาหรือจำนวนครั้งในการค้นหาลงรอบละครึ่งหนึ่งของข้อมูลที่มี เช่น มีข้อมูล 100 ชุด ในรอบแรกถ้าตัวเองยังไม่ใช่ข้อมูลที่กำลังค้นหา จะเหลือทางเลือกให้หาจากกิ่งทางซ้ายหรือขวา ซึ่งการเลือกทำให้ข้อมูลของอีกฝั่งนั้นไม่ถูกพิจารณา หรือตัดทิ้งไปครึ่งหนึ่งโดยประมาณ แต่ถ้าเป็นกรณีที่ Binary Search Tree นั้นขาดความสมดุลย์จะส่งผลให้การค้นหามีความเร็วไม่แตกต่างกับการค้นหาแบบลำดับ (Sequential Search) เท่าใดนัก

ในบทความนี้ใช้ภาษาไพธอนที่ทำงานได้ทั้งบนตัวแปลภาษา Python 3 หรือ MicroPython เพื่อจัดเก็บข้อมูล การเพิ่มข้อมูล การค้นหาข้อมูล เพื่อเป็นตัวอย่างของการนำไปพัฒนาต่อไป

BST : Binary Search Tree
ภาพที่ 1 ตัวอย่าง BST
Read More

[EN] Arduino : DHT Sensor

This article describes how Adafruit’s DHT Sensor library is compatible with all Arduino-compatible architectures, making it easier to deploy DHT sensors for humidity and temperature readings across multiple platforms. This article has tested with ESP32, ESP8266, Arduino UNO and stm32f103c and found that it can be used without modifying the code in the working part or having to modify the source code to make it compatible with the platform.

(Figure. 1 dht22 and BluePill)
Read More

[EN] Arduino: JoyStick Shield

This article is a guideline on using GamePad/Joystick with Arduino Uno or Arduino Mega because it is a module designed as a shield of both boards. When assembled, you will get 1 cute gamepad as shown in Figure 1. The article explains more about the information of the connection between each device and the GPIO with examples of use. The content about the joystick module can be read from the previous article.

(Figure. 1 Joystick Shield)
Read More

[TH] Control movement from a joystick via WiFi with MicroPython.

บทความนี้เกิดจากการนำบทความการเขียนโปรแกรมไคลเอนต์/เซิร์ฟเวอร์สำหรับสถานีอากาศผ่านระบบเครือข่ายไร้สาย หรือ WiFi มาปรับเปลี่ยนจากการอ่านข้อมูลจากเซ็นเซอร์มาเป็นจอยสติกชิลด์ (Arduino Joystick Shield) เพื่อให้กลายเป็นเกมคอนโทรลเลอร์แบบไร้สายโดยใช้ MycroPython กับไมโครคอนโทรลเลอร์ ESP32 ดังภาพที่ 1 ทำให้สามารถควบคุมการเคลื่อนที่ของวัตถุในจอแสดงผลผ่านจอ TFT แบบ ST7735 ที่เชื่อมต่อกับ ESP32 อีกตัวหนึ่งได้ ซึ่งจะพบว่าการใช้งานภาษาไพธอนของ MicroPython นั้นสามารถนำมาใช้งานได้กับกรณีตัวอย่างนี้ และด้วยภาษาที่เขียนได้ง่ายประกอบกับสามารถปรับแก้โค้ดได้โดยไม่ต้องคอมไพล์และอัพโหลดใหม่จึงสะดวกต่อการเขียนโค้ดต้นแบบเพื่อนำไปพัฒนาให้มีความเร็วในการทำงานที่สูงขึ้นต่อไป

Control movement from a joystick via WiFi
ภาพที่ 1 อุปกรณ์การทดลองในบทความ
Read More

[EN] Digital Compass Sensor

This article describes the MicroPython GY-271 digital compass sensor for use with the ESP8266 or ESP32 (we have experimented with STM32F411CEU6 with Raspberry Pi 3B+ and 4B and found that it can be used as well) to set the operation and read the X,Y and Z axis values from the sensor, then calculate it as the degree of north.

(Figure. 1 GY-271 usage)
Read More

[TH] The dCore-espWST

บทความนี้แนะนำการใช้ esp8266 เพื่ออ่านอุณหภูมิความชื้นจากเซ็นเซอร์ DHT11 ค่าแรงดันจากเซ็นเซอร์ LDR รับค่าจากสวิตช์ และแสดงผลผ่านทาง OLED ด้วยภาษาไพธอนของ MicroPython โดยคุณสมบัตินี้เป็นบอร์ด dCore-espWST ที่พวกเราใช้งาน (ซึ่งบทความก่อนหน้านี้เราก็ใช้ตัว dCore-esp32WST ที่มีการออกแบบเหมือนกันแต่ใช้ esp32 แต่โค้ดโปรแกรมยังคงใช้กับบอร์ดรุ่นได้ด้วยเช่นกัน) และเป็นบอร์ดสำหรับใช้ในการเรียนการสอนวิชา IoT โดยโครงสร้างต้นแบบของบอร์ดเป็นดังภาพที่ 1 ซึ่งปกติจะใช้กับชุดจ่ายไฟจากระบบแบตเตอรีพร้อมวงจรชาร์จจากแผงโซลาเซลล์

ภาพที่ 1 ต้นแบบของบอร์ด dCore-espWST
Read More