[TH] ESP8266+PCF8583

บทความนี้เป็นการเขียนโปรแกรมภาษา Python ของ MicroPython เพื่อตั้งค่า/อ่านค่าวันที่และเวลาของ pcf8583 ซึ่งเป็น RTC ที่พวกเราชอบใช้ ซึ่งพวกเราพบว่ามีตัวอย่างที่เป็นภาษาไพธอนค่อนข้างน้อยจึงนำโค้ดตัวอย่างที่ทำไว้ออกมาให้ได้ลองศึกษากัน

ภาพที่ 1 บอร์ด ET-mini PCF8583
Read More

[EN] ESP8266 and 3-Axis Digital Accelerometer

This article introduces the use of motion sensors or digital 3-axis shifting using MMA7660FC IC, which lets us know if this module shifts left/right or forward/backward or up/down, or rotates left/right or front/back and up/down. A library has been created to enable the sensor, set the sampling rate (sample rate), and display the converted value obtained from the module.

(Figure. 1)
Read More

[TH] Raspberry Pi & Ultrasonic Sensor

บทความนี้กล่าวถึงการใช้โมดูล Ultrasonic กับบอร์ด Raspberry Pi (บทความก่อนหน้านี้ใช้กับ ESP8266) ด้วยภาษาไพธอนเพื่อแสดงระยะห่างจากเซ็นเซอร์กับวัตถุที่พบได้ใกล้ที่สุด

ภาพที่ 1 VisionRobo ที่ติดตั้งโมดูล Ultrasonic Sensor
Read More

[TH] Let’s have fun doing time-lapse with ESP32CAM.

บทความนี้เป็นการประยุกต์ใช้ชุดบอร์ด ESP32CAM เพื่อทำการถ่ายภาพแบบต่อเนื่องโดยกำหนช่วงเวลาระหว่างการถ่ายภาพแต่ละใบหรือที่เรียกว่า time-lapse ซี่งในบทความนี้เขียนโดยใช้ภาษาไพธอน ด้วยการติดตั้งเฟิร์มแวร์ที่ถูกคอมไพล์ด้วยการผนวกไลบรารี camera สำหรับการเชื่อมต่อกับโมดูลกล้องบนบอร์ด ESP32CAM ทำให้การเขียนโปรแกรมสะดวกและปรับแต่งโค้ดได้ง่าย

ภาพที่ 1 บอร์ด ESP32CAM ที่ใช้ในการทดลองครั้งนี้
Read More

[TH] ESP32 & NEO-6MV2 GPS Module

บทความนี้เป็นการใช้ ESP32 เชื่อมต่อกับโมดูลจีพีเอสผ่านทางพอร์ตสื่อสารอนุกรมลำดับที่ 2 ของ ESP32 เพื่ออ่านข้อมูลและแสดงผลข้อมูลที่ได้รับจากโมดูลจีพีเอส และแสดงความหมายที่อ่านได้ โดยตัวอย่างโปรแกรมที่ 1 เป็นการอ่านค่าจากโมดูลจีพีเอส และตัวอย่างที่ 2 เป็นการแสดงสารสนเทศที่อ่านได้จากโมดูลจีพีเอสเพื่อให้ผู้อ่านได้นำไปปรับปรุงแก้ไขต่อไป

ภาพที่ 1 โมดูลจีพีเอส NEO-6MV2
Read More

[TH] ulab EP 5 numerical

บทความ ulab ตอนที่ 5 เป็นเรื่องของโมดูลย่อย numerical ที่ใช้ในการคำนวณหาค่าน้อยสุด มากสุด ผลรวม ค่าเฉลี่ย และค่าเบียงเบนมาตรฐาน ทำให้ทำงานด้านการคำนวณสถิติเบี้องต้นได้สะดวก โดยบทความอธิบายฟังก์ชันการทำงานของโมดูลย่อย numerical พร้อมตัวอย่างโปรแกรมเพื่อให้เห็นภาพของการทำงาน

Read More

[TH] Using the DHT22/DHT11 Temperature and Humidity Sensor Module with ESP8266

บทความครั้งนี้เป็นการใช้งานโมดูลวัดค่าอุณหภูมิและความชื้น DHT22 และ DHT11 ด้วยภาษาไพธอน ซึ่งเป็นโมดูลเซ็นเซอร์ที่ทำงานด้วยการใช้สายสัญญาณเพียงเส้นเดียว ทำให้ประหยัดพอร์ตของไมโครคอนโทรลเลอร์ในการเชื่อมต่อกับโมดูลเซ็นเซอร์ นอกจากนี้ MicroPython มีไลบรารีเตรียมไว้สำหรับการใช้งาน DHT22 และ DHT11 จึงสะดวกและประหยัดเวลา ลดความผิดพลาดที่อาจจะเกิดจากการเขียนโปรแกรมด้วยตนเอง

ตัวอย่างในบทความนี้มี 3 ตัวอย่าง code17-1 เป็นการอ่านค่ามาแสดงผลแบปกติ แต่ code17-2 เป็นการวนรอบเพื่ออ่านซ้ำ โดยนำค่าที่อ่านมาหาค่าน้อยสุดและต่ำสุด พร้อมทั้งแสดงออกทางโมดูลแอลซีดีดังภาพที่ 8 และตัวอย่าง code17-3 เป็นการแสดงค่าเฉลี่ยของอุณหภูมิและความชื้น

ภาพที่ 1 ผลลัพธ์จาก code17-1
Read More

[TH] Reading the Accelerator sensor with raspberry pi via I2C Bus.

บทความนี้เป็นการนำโมดูลเซ็นเซอร์การเคลื่อนที่ หรือการขยับใน 3 แกนแบบดิจิทัลที่ใช้ไอซี MMA7660FC ที่ได้เขียนถึงในบทความก่อนหน้านี้มาติดตั้งกับบอร์ด Raspberry Pi และเขียนโปรแกรมภาษาไพธอนเพื่อเชื่อมต่อและอ่านค่ามาแสดงผล

ภาพที่ 1
Read More

[TH] ESP8266 and 3-Axis Digital Accelerometer

บทความนี้แนะนำการใช้เซ็นเซอร์การเคลื่อนที่ หรือการขยับใน 3 แกนแบบดิจิทัลที่ใช้ไอซี MMA7660FC ซึ่งทำให้เราทราบว่าโมดูลนี้ขยับไปทางซ้าย/ขวา หน้า/หลัง หรือบน/ล่าง หรือเกิดการหมุนซ้าย/ขวา หน้า/หลัง และบน/ล่าง โดยในบทความได้สร้างไลบรารีเพื่อเปิดการทำงานของเซ็นเซอร์ กำหนดอัตราการทำแซมปลิง (sample rate) และทำการแปลงค่าที่ได้จากโมดูลมาแสดงผล

ภาพที่ 1
Read More