[TH] แถบแสดงค่าอุณหภูมิและความชื้น

บทความนี้เป็นตัวอย่างโปรแกรมสำหรับกรณีที่ต้องการแสดงแถบแสดงค่าอุณหภูมิและความชื้นดังภาพที่ 1 ด้วย MicroPython กับบอร์ด esp32 ที่ติดตั้ง OLED จะเขียนอย่างไร โดยอุปกรณ์ในการทดลองครั้งนี้ใช้ DHT22 เป็นอุปกรณ์วัดความชื้นและอุณหภูมิ โดยบอร์ดเชื่อมต่อกับบัส I2C เพื่อสื่อสารกับ OLED ผ่านทางขา GPIO4 และ GPIO5 สำหรับทำหน้าที่ SCL และ SDA ตามลำดับ พร้อมกันนี้ได้ต่อขาสัญญาณของ DHT22 เข้ากับขา GPIO15 เพื่อใช้สื่อสารกันระหว่างเซ็นเซอร์กับไมโครคอนโทรเลอร์

ภาพที่ 1 ตัวอย่างผลัพธ์ของการแสดงแถบแสดงค่าอุณหภูมิและความชื้น
Read More

[TH] DHT11 Web Report

บทความนี้เป็นการประยุกต์รวมการเขียนโปรแกรมภาษาไพธอนสำหรับ Micropython ที่ใช้กับ esp8266 หรือ esp32 ที่ต่อกับ DHT11 สำหรับเก็บค่าอุณหภูมิและความชื้น โดยรายงานผลอุณหภูมิ 10 รายการหลังสุดที่เก็บทุก 5 วินาทีให้เห็นดังภาพที่ 1

ภาพที่ 1 ตัวอย่างผลลัพธ์ของการแสดงผล
Read More

[EN] ulab EP 5 numerical

บThe ulab EP 5 discusses the numerical submodule used to calculate the minimum, maximum, sum, mean, and standard deviation. Enable convenience for working in calculating preliminary statistics. The article describes the functionality of the numerical submodule with an example program to illustrate how it works.

Read More

[TH] Queue Data Structure

บทความนี้แนะนำการใช้คลาส list ใน Micropython มาประยุกต์เป็นโครงสร้างข้อมูลคิวที่มีจำนวนสมาชิกจำกัด และทำงานตามหลักการ FIFO (First-In-First-Out) ซึ่งสามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้หลากหลาย เช่น ใช้เป็นที่เก็บข้อมูลและเมื่อข้อมูลมีเต็มแล้วแต่ต้องการนำข้อมูลใหม่ใส่เข้าไป ดังนั้น จึงต้องนำข้อมูลเก่าอันดับที่ 1 ที่ใส่เข้ามาออกไป ซึ่งตรงกับหลักการของ FIFO เป็นต้น โดยตัวอย่างในบทความนี้ใช้บอร์ด dCore-miniML (ในภาพที่ 1) อ่านข้อมูลอุณหภูมิของชิพมาเก็บไว้ในโครงสร้างแบบคิวและแสดงผลออกมาในลักษณะของกราฟแท่ง และไมโครไพธอนที่นำมาใช้เป็นเฟิร์มแวร์รุ่น 1.16 (2021-06-23) สำหรับ ESP Module (SPIRAM)

ภาพที่ 1 ตัวอย่างการวาดกราฟด้วยข้อมูลที่เก็บในโครงสร้างข้อมูลแบบคิว
Read More

[TH] ESP8266 WebServer

บทความนี้เป็นการทดลองทำให้ไมโครคอนโทรลเลอร์ esp8266 เป็นเครื่องให้บริการเว็บเพื่อแสดงผลค่าอุณหภูมิและความชื้นจากเซ็นเซอร์ DHT11 โดยใช้ไลบรารีของ Adafruit ดังภาพที่ 1 และเมื่อกำหนดให้ไมโครคอรโทรลเลอร์ทำงานในโหมด SoftAP เพื่อให้ลูกข่ายหรือผู้ใช้เชื่อมต่อ WiFi เข้ามาหลังจากนั้นใช้ Browser เข้าไปยัง IP หมายเลข 192.168.4.1 ซึ่งเป็นหมายเลขของ esp8266

ภาพที่ 1 ตัวอย่างการการต่ออุปกรณ์สำหรับบทความ
Read More

[TH] Arduino : DHT Sensor

บทความนี้เป็นการอธิบายการใช้งานไลบรารี DHT Sensor ของ Adafruit ที่รองรับกับทุกสถาปัตยกรรมที่ใช้กับ Arduino ได้ ทำให้สามารถประยุกต์การใช้งานเซ็นเซอร์ DHT ซึ่งใช้สำหรับอ่านค่าความชื้นและอุณหภูมิได้สะดวกและกับหลายแพลตฟอร์มได้ง่ายขึ้น โดยบทความนี้ได้ทดสอบกับ ESP32, ESP8266, Arduino UNO และ stm32f103c แล้วพบว่าสามารถใช้งานได้โดยไม่ต้องปรับแก้ไขโค้ดในส่วนของการทำงานหรือต้องเข้าไปแก้ไขรหัสต้นฉบับเพื่อให้ใช้งานได้กับแพลตฟอร์มที่ใช้งาน

ภาพที่ 1 dht22 Sensor กับ BluePill
Read More

[TH] Arduino: JoyStick Shield

บทความนี้แนะนำการใช้ Game Pad/Joystick กับบอร์ด Arduino Uno หรือ Arduino Mega เนื่องจากเป็นโมดูลที่ออกแบบเป็น Shield ของบอร์ดทั้ง 2 เมื่อนำมาประกอบจะได้เกมแพดน่ารัก ๆ 1 ชิ้นดังภาพที่ 1 โดยในบทความอธิบายเพิ่มเติมเกี่ยวกับข้อมูลของการเชื่อมต่อระหว่างอุปกรณ์แต่ละชิ้นกับ GPIO พร้อมตัวอย่างการใช้งาน ซึ่งเนื้อหาเกี่ยวกับโมดูลจอยสติกอ่านได้จากบทความก่อนหน้านี้

ภาพที่ 1 Joystick Shield
Read More

[TH] Arduino: Joystick Module

บทความนี้เป็นการเขียนโปรแกรมเพื่อใช้งานโมดูลจอยสติก (Joystick) ดังภาพที่ 1 ซึ่งตัวโมดูลสามารถบอกข้อมูลการเคลื่อนที่ในแกน X การเคลื่อนที่ในแกน Y และสถานะการกดสวิทตช์ที่ตัวจอยสติก โดยตัวอย่างการใช้งานโมดูลนี้เป็นการใช้กับบอร์ด esp32 โดยใช้ภาษา C++ เพื่อเชื่อมต่อกับ GPIO ด้วยคำสั่งที่เคยกล่าวไปแล้วในบทความนี้

ภาพที่ 1 โมดูลจอยสติกกับ esp32
Read More

[TH] Digital Compass Sensor

บทความนี้เป็นการอธิบายการใช้งานเซ็นเซอร์เข็มทิศดิจิทัลรุ่น GY-271 ด้วยภาษาไพธอนของ MicroPython เพื่อใช้งานกับ ESP8266 หรือ ESP32 (และได้ทดลองกับ STM32F411CEU6 กับ Raspberry Pi 3B+ และ 4B แล้วสามารถใช้งานได้เหมือนกัน) เพื่อตั้งค่าการทำงานและอ่านค่าแกน X,Y และ Z จากเซ็นเซอร์ หลังจากนั้นนำมาคำนวณเป็นค่าองศาของทิศเหนือ

ภาพที่ 1 ทดลองใช้ GY-271
Read More