[EN] Queue data structure with array and Singly Linked List.

This article describes Queue Data Structures previously written in the Python Queue Data Structure article and is frequently used with the MicroPython example, but this article is written in C via Arduino IDE to use with microcontroller board LGT8F328P, SAM-D21, ESP8266, ESP32 and ESP32-S2 as shown in Figure 1 by using an example of the array structure and a single link list as a queued data structure. This article is probably the last article on JarutEx.

Figure 1 ESP32-S2, LGY8P326P and SAM-D21
Read More

[TH] Queue data structure with array and Singly Linked List.

บทความนี้เป็นการอธิบายเกี่ยวกับโครงสร้างข้อมูลแบบคิว (Queue) ซึ่งได้เคยเขียนถึงไปในบทความ Queue Data Structure ที่เป็นภาษาไพธอนและถูกนำไปใช้บ่อยกับตัวอย่างของ MicroPython แต่บทความนี้เป็นภาษา C ที่เขียนผ่าน Arduino IDE เพื่อใช้งานกับบอร์ดไมโครคอนโทรลเลอร์ LGT8F328P, SAM-D21, ESP8266, ESP32 และ ESP32-S2 ดังภาพที่ 1 โดยยกตัวอย่างการนำโครงสร้างแถวลำดับ และลิงค์ลิสต์เดี่ยวมาเป็นโครงสร้างข้อมูลแบบคิว และคงเป็นบทความสุดท้ายบน JarutEx แล้วครับ

ภาพที่ 1 บอร์ดไมโครคอนโทรลเลอร์ ESP32-S2, LGY8P326P และ SAM-D21
Read More

[EN] Queue Data Structure

This article introduces the use of the list class in Micropython as a queue data structure with a limited number of members. It works according to the FIFO (First-In-First-Out) principle, which can be applied in a variety of applications, such as being used as a storage, and when the data is full but we need to insert new data, the old data must be pop out. The example in this article uses the dCore-miniML board (Figure 1) to read the temperature of the chip and store it in a Queue structure and display it in a bar graph and Micropython implemented firmware version 1.16 (2021-06-23) for the ESP Module (SPIRAM).

(Figure. 1 An example of drawing a graph with data stored in a queued data structure)
Read More

[TH] Queue Data Structure

บทความนี้แนะนำการใช้คลาส list ใน Micropython มาประยุกต์เป็นโครงสร้างข้อมูลคิวที่มีจำนวนสมาชิกจำกัด และทำงานตามหลักการ FIFO (First-In-First-Out) ซึ่งสามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้หลากหลาย เช่น ใช้เป็นที่เก็บข้อมูลและเมื่อข้อมูลมีเต็มแล้วแต่ต้องการนำข้อมูลใหม่ใส่เข้าไป ดังนั้น จึงต้องนำข้อมูลเก่าอันดับที่ 1 ที่ใส่เข้ามาออกไป ซึ่งตรงกับหลักการของ FIFO เป็นต้น โดยตัวอย่างในบทความนี้ใช้บอร์ด dCore-miniML (ในภาพที่ 1) อ่านข้อมูลอุณหภูมิของชิพมาเก็บไว้ในโครงสร้างแบบคิวและแสดงผลออกมาในลักษณะของกราฟแท่ง และไมโครไพธอนที่นำมาใช้เป็นเฟิร์มแวร์รุ่น 1.16 (2021-06-23) สำหรับ ESP Module (SPIRAM)

ภาพที่ 1 ตัวอย่างการวาดกราฟด้วยข้อมูลที่เก็บในโครงสร้างข้อมูลแบบคิว
Read More