[EN]How to render the Thai string correctly?

From the article on how to use u8g2 that can render Thai string through the drawUTF8() function of the u8g2 library, the rendering is not correct as shown in Figure 1, therefore, the code of libraries needs additionally adjusted to render correctly as in Figure 2.

Figure 1 drawUTF8() display before adjustment
Figure 2 drawUTF8() after adjustment

[EN] ESP8266/ESP32 WiFi

The ESP8266 and ESP32 boards are equipped with built-in WiFi connectivity. They can work in both self-application mode (Access Point) and client mode connected to an existing WiFi network or STA. Developers can set the device name (ESSID) or use the default name from the system as MicroPython-xxxx, where x represents the MAC Address of the device, the password is micropythoN (developers can assign new) and the IP Address (IP Address) is 192.168.4.1.

(Figure. Our ESP8266+Uno)

[TH] How to render the Thai string correctly?

จากบทความการใช้งาน u8g2 ที่สามารถเรนเดอร์ (Render) ภาษาไทย (Thai string) ได้ผ่านทางฟังก์ชัน drawUTF8() ของไลบรารี u8g2 แต่การแสดงผลไม่ถูกต้อง ดังภาพที่ 1 ด้วยเหตุนี้จึงต้องปรับปรุงโค้ดของไลบรารีเพิ่มเติมเพื่อให้การแสดงผลถูกต้องดังภาพที่ 2

ภาพที่ 1 การแสดงผลของ drawUTF8() ก่อนปรับปรุง
ภาพที่ 2 การแสดงผลของ drawUTF8() หลังปรับปรุง

[TH] ESP8266/ESP32 WiFi

บอร์ด ESP8266 และ ESP32 เป็นอุปกรณ์ที่มีระบบการเชื่อมต่อสัญญาณ WiFi ในตัว โดยสามารถทำงานได้ทั้งโหมดการให้ตนเองเป็น AP (Access Point) และโหมดลูกข่ายที่เชื่อมต่อเข้ากับเครือข่าย WiFi ที่มีอยู่แล้วหรือ STA โดยผู้พัฒนาสามารถตั้งชื่อของอุปกรณ์ (ESSID) หรือใช้ชื่อตามค่าที่ตั้งจากระบบเป็น MicroPython-xxxx ซึ่ง x แทนค่า MAC Address ของอุปกรณ์ โดยรหัสผ่านเป็น micropythoN (ผู้พัฒนาสามารถกำหนดใหม่ได้) พร้อมรหัสหมายเลขไอพี (IP Address) เป็น 192.168.4.1

ภาพที่ 1 บอร์ดทดลอง ESP8266+Uno ของทีม JarutEx

[TH] Hi, MaixPy

บทความนี้เป็นบทความแนะนำคุณสมบัติของบอร์ด Sipeed M1w dock suit ซึ่งเป็นบอร์ดที่ออกแบบมาเพื่อประมวลผล AI บนอุปกรณ์ Edge ทำให้งาน IoT รองรับการประมวลผลปัญญาประดิษฐ์ได้ โดยใช้ขิพ KPU K210 เป็นสมองหลักของการประมวลผล

ภาพที่ 1

[TH] ESP8266+ST7735s TFT LCD 0.96″ 80×160 RGB565

จากบทความ ST7735S 0.96″ 80×160 TFT LCD ได้กล่าวถึงคุณลักษณะและหน้าที่ของขาเชื่อมต่อพร้อมตัวอย่างการเชื่อมต่อกับ TTGO T8 ESP32 ไปเรียบร้อยแล้ว ในบทความนี้เป็นตัวอย่างการนำโมดูลแสดงผลมาใช้งานกับ ESP8266 ซึ่งมีขีดจำกัดในเรื่องของปริมาณหน่วยความจำที่น้อยกว่า ESP32 จึงต้องแก้ปัญหาด้วยการคอมไพล์ไลบรารีให้เป็นไบต์โค้ดนามสกุล mpy

ภาพที่ 1

[TH] ST7735s 0.96″ 80×160 TFT LCD

บทความนี้แนะนำ TFT LCD แบบ IPS ขนาด 0.96″ ที่มีความละเอียด 80×160 จุด ให้สี RGB565 หรือ 16 บิต โดยควบคุมการทำงานของโมดูล LCD ด้วยชิพ ST7735s ผ่านทางบัส SPI โดยตัวอย่างการใช้งานใช้กับ TTGO T8 ESP32 ที่เรียกใช้ไลบรารี ST7735 ด้วยภาษาไพธอน

ภาพที่ 1

[TH] ESP8266 MicroSD-Card Reader (Adapter)

บทความนี้เป็นตัวอย่างการใช้โมดูลอ่าน/เขียนการ์ดประเภท SD-Card เพื่อเก็บข้อมูลและอ่านข้อมูลในรูปแบบ JSON ซึ่งเป็นแนวทางสำหรับผู้อ่านบทความสามารถนำไปประยุกต์ใช้งานต่อไปในอนาคต

ภาพที่ 1

[TH] ESP8266 Control Relay

บทความนี้เป็นตัวอย่างการเขียนโปรแกรมภาษาไพธอนเพื่อขับโมดูรีเลย์เพื่อเปิด/ปิดหลอดแอลอีดีให้สว่างหรือดับผ่านการสั่งงาน WiFi ในโหมด AP ของ ESP8266

ภาพที่ 1

[TH]Review TTGO T8 ESP32

TTGO T8 ESP32 เป็นบอร์ดที่ใช้ ESP32 เป็นตัวขับเคลื่อนการทำงาน รองรับการเขียนโปรแกรมทั้ง ESP-IDF, Arduino และ MicroPython นอกจากนี้จุดเด่นของบอร์ดรุ่นนี้อยู่ที่ มีหน่วยความจำแรมภายนอกให้ใช้งาน 4MB มีช่องอ่าน TF Card ทำให้สามารถอ่าน/เขียน SD Card ได้ มีสวิตช์สำหรับเปิดปิดการทำงานของบอร์ด ปุ่มรีเซ็ต เสาอากาศแบบ 3 มิติ ช่องเสียบสายอากาศภายนอก และวงจรชาร์จ/ใช้งานแบตเตอรีแบบรีชาร์จ